Category: ทารก

การดูแลทารกหลังคลอด
ทารกแรกเกิด คือ ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 28 วัน ซึ่งเป็นช่วงที่มีการปรับตัวอย่างมาก. จากสภาพแวดล้อมจากบรรยากาศที่อบอุ่นในครรภ์มารดา ออกมา เรื่องพื้นฐานในการดูแลทารกแรกเกิด หลังคลอดลูกน้อย ขณะกำลังพักฟื้นอยู่ในโรงพยาบาล คุณพ่อคุณแม่ควรสอบถามแพทย์หรือพยาบาลถึงวิธีการดูแลทารกในขั้นพื้นฐาน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับร่างกายของทารกแรกเกิด และบันทึกการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตของทารกว่าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่ รวมไปถึงเรียนรู้รายละเอียดสำคัญและพื้นฐานต่าง ๆ ในการดูแลเด็กแรกเกิดดังนี้ การอุ้ม การอุ้มทารกด้วยวิธีที่เหมาะสมจะช่วยลดโอกาสเกิดอันตราย และการสัมผัสยังช่วยให้เกิดความคุ้นเคยและความอบอุ่นระหว่างผู้ดูแลและทารกด้วย ซึ่งวิธีการอุ้มที่ถูกต้องมีดังนี้ การให้นมทารก ทารกอาจต้องการดูดนมมากเป็นพิเศษในช่วงแรกเกิด คุณแม่อาจต้องให้นมบ่อยครั้ง หรือควรให้นมในปริมาณที่เด็กต้องการ ในสัปดาห์แรก ๆ ควรให้นมประมาณ 8-12 ครั้งใน 24 ชั่วโมง โดยสังเกตอาการหิวของทารกได้จากการอมนิ้วหรืออยู่ไม่สุข ขณะให้นมทารกจะอยู่นิ่งและมีท่าทีผ่อนคลาย โดยคางของทารกจะต้องสัมผัสกับหน้าอก ปากล่างจะอยู่ในตำแหน่งที่มองไม่เห็นและจมูกของทารกจะต้องไม่กดทับไปกับหน้าอก หากทารกอิ่มจะสังเกตได้ว่าเด็กจะถอยห่างออกจากเต้านม หน้าอกของคุณแม่จะนุ่มขึ้น ทารกอาจมีท่าทีผ่อนคลายหรือง่วงหลังการให้นม ทั้งนี้การเข้าอบรมก่อนคลอดจะช่วยให้คุณแม่สามารถจัดท่าทางขณะให้นมได้อย่างถูกต้อง รู้ถึงวิธีการกระตุ้นให้น้ำนมไหลรวมถึงจัดการกับปัญหาในการให้นมบุตรได้ โดยในช่วงสัปดาห์แรก น้ำหนักตัวของทารกจะลดลงก่อนจะเริ่มมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การไล่ลม ลมจำนวนมากจะเข้าสู่ร่างกายของทารกจากการกลืนลมในระหว่างการให้นม ในบางครั้งอาจเกิดได้จากระบบการย่อยอาหารอีกด้วย ซึ่งลมจำนวนมากในท้องอาจทำให้ทารกรู้สึกไม่สบายตัว ดิ้นและร้องไห้ จึงควรไล่ลมทุก ๆ การดื่มนมขวดประมาณ 2 ออนซ์หรือทุกครั้งหลังดูดนมจากเต้า ซึ่งผู้ดูแลสามารถไล่ลมให้ทารกได้ด้วยวิธีและท่าทางการอุ้มต่าง ๆ ดังนี้ หากทารกไม่เรอภายในเวลา 2-3 […]

การดูแลทารกแรกเกิด
เด็กทารก, ทารกแรกเกิด, การดูแล, พัฒนาการทารก, นมแม่, ดูแลลูกน้อยแรกเกิด, คุณพ่อคุณแม่มือใหม่ … ทารกแรกเกิด หมายถึง ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิด ถึง 1 เดือน … การตั้งครรภ์เป็นเรื่องที่น่ายินดีสำหรับทุกคนในครอบครัว เพราะจะมีสมาชิกใหม่ตัวน้อยๆ เพิ่มขึ้นมาในบ้าน คุณแม่ที่กำลัง ตั้งครรภ์ นอกจากจะมีความรู้สึกตื่นเต้นกับวันคลอดที่ใกล้จะมาถึงแล้ว ยังมีความกังวลในเรื่องการดูแลลูกหลังคลอดด้วย โดยเฉพาะคุณแม่มือใหม่และคุณแม่ที่ต้องเลี้ยงลูกคนเดียว การเตรียมตัวให้พร้อมก่อนถึงวันคลอดจะช่วยลดความวิตกกังวลและสร้างความมั่นใจในการเลี้ยงดูทารกแรกเกิดได้ ทารกแรกเกิด หมายถึง ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิด ถึง 1 เดือน ช่วงชีวิตนี้เป็นระยะที่มีความสำคัญ เพราะทารกมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมจากภายในครรภ์มารดาออกมาสู่สภาพแวดล้อมภายนอก จึงต้องมีการปรับตัวเป็นอย่างมากเพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกครรภ์มารดา ทั้งยังเป็นวัยแห่งการสร้างรากฐานการพัฒนาบุคลิกภาพในอนาคต ดังนั้น คุณแม่จึงต้องดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดเป็นพิเศษ โดยหลักแล้ว การดูแลทารกแรกเกิด มีสองเรื่องด้วยกัน คือการดูแลทางด้านร่างกายและการดูแลทางด้านจิตใจ การดูแลทางด้านร่างกาย คือ เรื่องโภชนาการอาหาร, การให้ทารกนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ในสถานที่ที่สะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก และปลอดภัย, การดูแลระบบขับถ่าย, การดูแลความสะอาด, การดูแลสุขภาพร่างกายให้อบอุ่นแข็งแรง และการดูแลเรื่องระบบทางเดินหายใจ สำหรับการดูแลทางด้านจิตใจ คือ การเลี้ยงดูทารกแรกเกิดด้วยความรักและความอบอุ่น ซึ่งจะเป็นการสร้างพื้นฐานทางด้านจิตใจที่ดีให้กับลูกตั้งแต่ยังเล็ก และจะมีผลต่อเนื่องไปจนกระทั่งเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การดูแลทารกแรกเกิดในเรื่องต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้ อาหารสำหรับทารกแรกเกิด องค์การอนามัยโลกแนะนำ “ให้นมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และนมแม่ร่วมกับอาหารเสริมนานจนถึง 2 ปี หรือมากกว่า” เพราะ น้ำนมแม่ เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก […]

การดูแลทารกแรกเกิด เรื่องที่พ่อแม่มือใหม่ควรรู้
การดูแลทารกแรกเกิดอาจเป็นเรื่องน่ากังวลใจสำหรับพ่อแม่มือใหม่ และการเตรียมพร้อมสำหรับสมาชิกใหม่ก็ถือเป็นเรื่องจำเป็นอยู่ไม่น้อย ทั้งการวางแผนคลอด เสื้อผ้า เรื่องพื้นฐานในการดูแลทารกแรกเกิด หลังคลอดลูกน้อย ขณะกำลังพักฟื้นอยู่ในโรงพยาบาล คุณพ่อคุณแม่ควรสอบถามแพทย์หรือพยาบาลถึงวิธีการดูแลทารกในขั้นพื้นฐาน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับร่างกายของทารกแรกเกิด และบันทึกการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตของทารกว่าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่ รวมไปถึงเรียนรู้รายละเอียดสำคัญและพื้นฐานต่าง ๆ ในการดูแลเด็กแรกเกิดดังนี้ การอุ้ม การอุ้มทารกด้วยวิธีที่เหมาะสมจะช่วยลดโอกาสเกิดอันตราย และการสัมผัสยังช่วยให้เกิดความคุ้นเคยและความอบอุ่นระหว่างผู้ดูแลและทารกด้วย ซึ่งวิธีการอุ้มที่ถูกต้องมีดังนี้ การให้นมทารก ทารกอาจต้องการดูดนมมากเป็นพิเศษในช่วงแรกเกิด คุณแม่อาจต้องให้นมบ่อยครั้ง หรือควรให้นมในปริมาณที่เด็กต้องการ ในสัปดาห์แรก ๆ ควรให้นมประมาณ 8-12 ครั้งใน 24 ชั่วโมง โดยสังเกตอาการหิวของทารกได้จากการอมนิ้วหรืออยู่ไม่สุข ขณะให้นมทารกจะอยู่นิ่งและมีท่าทีผ่อนคลาย โดยคางของทารกจะต้องสัมผัสกับหน้าอก ปากล่างจะอยู่ในตำแหน่งที่มองไม่เห็นและจมูกของทารกจะต้องไม่กดทับไปกับหน้าอก หากทารกอิ่มจะสังเกตได้ว่าเด็กจะถอยห่างออกจากเต้านม หน้าอกของคุณแม่จะนุ่มขึ้น ทารกอาจมีท่าทีผ่อนคลายหรือง่วงหลังการให้นม ทั้งนี้การเข้าอบรมก่อนคลอดจะช่วยให้คุณแม่สามารถจัดท่าทางขณะให้นมได้อย่างถูกต้อง รู้ถึงวิธีการกระตุ้นให้น้ำนมไหลรวมถึงจัดการกับปัญหาในการให้นมบุตรได้ โดยในช่วงสัปดาห์แรก น้ำหนักตัวของทารกจะลดลงก่อนจะเริ่มมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การไล่ลม ลมจำนวนมากจะเข้าสู่ร่างกายของทารกจากการกลืนลมในระหว่างการให้นม ในบางครั้งอาจเกิดได้จากระบบการย่อยอาหารอีกด้วย ซึ่งลมจำนวนมากในท้องอาจทำให้ทารกรู้สึกไม่สบายตัว ดิ้นและร้องไห้ จึงควรไล่ลมทุก ๆ การดื่มนมขวดประมาณ 2 ออนซ์หรือทุกครั้งหลังดูดนมจากเต้า ซึ่งผู้ดูแลสามารถไล่ลมให้ทารกได้ด้วยวิธีและท่าทางการอุ้มต่าง ๆ ดังนี้ หากทารกไม่เรอภายในเวลา 2-3 นาทีหลังการไล่ลมควรเปลี่ยนท่าอุ้มไล่ลมแล้วค่อยให้ทารกกินนมต่อ ควรไล่ลมให้ทารกทุกครั้งหลังให้นมเสร็จและควรจัดท่าทารกให้อยู่ในท่าตั้งตรงเป็นเวลาอย่างน้อย 10-15 […]

เคล็ดลับดูแลลูกน้อยวัย 2 เดือน
เด็กทารกวัย 2 เดือนต้องการอะไร พัฒนาการทารกในวัย 2 เดือนนี้ มีการเปลี่ยนแปลงด้านใดบ้าง ต้องรับมือเรื่องอาหาร วิธีการให้นม การเลี้ยงดู และการสื่อสารกับลูกวัย … ลูกน้อยวัย 2 เดือนคุณแม่จะรู้สึกผ่อนคลายขึ้นเมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนที่ 2 เพราะคุณพ่อและคุณแม่ต่างปรับตัวได้แล้ว และเริ่มเข้าใจลูกน้อยมากขึ้นตามลำดับ ขณะที่ลูกน้อยเองก็เริ่มโต้ตอบกับคุณได้มากขึ้น เช่น การยิ้ม แสดงสีหน้า แน่นอนว่ารอยยิ้มของลูกน้อยทำให้คุณพ่อและคุณแม่ชื่นใจได้มาก ลูกน้อยจะสื่อสารด้วยเสียงอ้อแอ้ของเค้าออกมา ขั้นตอนง่ายๆ ในการแสดงความรักให้ลูกน้อยรับรู้ได้ คือ การสบตาและพูดกับเค้าด้วยน้ำเสียงที่อ่อนโยน ค่อยๆ ขยับปากให้เค้าเห็นชัดๆ ใกล้ๆ และเมื่อลูกน้อยยิ้มให้คุณ พยายามสัมผัสให้เค้ารับรู้ว่าคุณเห็นและเข้าใจสิ่งที่เค้าพยายามสื่อสารกับคุณแล้ว นี่คือช่วงเวลาแห่งความผูกพันระหว่างพ่อ แม่และลูกน้อยที่มีคุณค่าและวิเศษที่สุด การให้นมลูกน้อยลูกน้อยในวัยนี้แสดงอาการหิวได้ชัดเจนขึ้น เป็นช่วงที่เค้าพยายามกำหนดช่วงเวลาการกินนมด้วยตัวเอง คุณเพียงแต่ทำตามและป้อนนมเมื่อถึงเวลาที่ลูกน้อยให้สัญญาณ สำหรับคุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ อาจจะต้องสลับเต้านมทั้งสองข้างในการป้อนลูกรัก การให้นมลูกช่วงเดือนที่ 2 นี้ ลูกน้อยยังตื่นขึ้นมากินนมในตอนกลางคืนอยู่ แต่จะเริ่มปรับตัวด้วยการนอนที่ยาวนานกว่าเดิม เป็น 5-6 ชั่วโมง ซึ่งคุณแม่ก็จะได้พักผ่อนนานขึ้นด้วย การนอนของเจ้าตัวเล็กลูกน้อยเริ่มนอนอย่างมีระบบมากขึ้น โดยเริ่มนอนกลางวันนานขึ้นจากเดิมที่นอนทุกๆ 1-3 ชั่วโมง ลูกน้อยจะเริ่มงีบหลังจากกินนมอิ่มแล้วประมาณ 30 นาทีขึ้นไป ซึ่งคุณแม่ช่วยเตรียมลูกน้อยด้วยการจัดที่นอนสบายๆ และสร้างบรรยากาศการนอนหลังป้อนนมแล้ว เด็กวัยนี้จะเริ่มใช้เวลานอนนานขึ้นเป็น 9-18 […]

การดูแลทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดแหวะนมเล็กๆ น้อยๆ ถือเป็นภาวะปกติ เพราะหูรูดของกระเพาะอาหารยังไม่แข็งแรง ควรปรับการให้นมใหม่ โดยให้ทารกดูดนมในปริมาณน้อยๆ แต่ดูดบ่อยขึ้น และอุ้มเรอ การดูแลทารกแรกเกิด มีสองเรื่องด้วยกัน คือการดูแลทางด้านร่างกายและการดูแลทางด้านจิตใจ การดูแลทางด้านร่างกาย คือ เรื่องโภชนาการอาหาร, การให้ทารกนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ในสถานที่ที่สะอาด อากาศถ่ายเทสะดวก และปลอดภัย, การดูแลระบบขับถ่าย, การดูแลความสะอาด, การดูแลสุขภาพร่างกายให้อบอุ่นแข็งแรง และการดูแลเรื่องระบบทางเดินหายใจ สำหรับการดูแลทางด้านจิตใจ คือ การเลี้ยงดูทารกแรกเกิดด้วยความรักและความอบอุ่น ซึ่งจะเป็นการสร้างพื้นฐานทางด้านจิตใจที่ดีให้กับลูกตั้งแต่ยังเล็ก และจะมีผลต่อเนื่องไปจนกระทั่งเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การดูแลทารกแรกเกิดในเรื่องต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้ อาหารสำหรับทารกแรกเกิด องค์การอนามัยโลกแนะนำ “ให้นมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และนมแม่ร่วมกับอาหารเสริมนานจนถึง 2 ปี หรือมากกว่า” เพราะ น้ำนมแม่ เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก และสารอาหารในนมแม่ไม่สามารถทดแทนได้ด้วยนมผสม คุณแม่ควรให้ลูกดูด นมแม่ ทันทีหลังคลอด และให้ดูด 8-12 ครั้งต่อวัน ก่อนให้นมคุณแม่ต้องล้างมือทุกครั้ง ส่วนหัวนมทำความสะอาดเวลาเช้าและเย็นขณะอาบน้ำก็เพียงพอแล้ว การให้นมลูกควรให้ในสถานที่ที่สงบและสะอาด ควรนวดเต้านมและลานหัวนมให้นิ่ม และบีบน้ำนมออกประมาณ 2-3 หยดก่อนให้ลูกดูด จัดท่าทางให้สบาย โดยคุณแม่อุ้มลูกตะแคงเข้าหาตัว ให้ปากของลูกอยู่ตรงหัวนม มืออีกข้างประคองเต้านม แล้วใช้หัวนมกระตุ้นริมฝีปากลูกให้ลูกอ้าปาก […]

เคล็ดลับดูแลลูกน้อยวัย 1 เดือน
ในช่วงเดือนแรก ควรป้อนนมทารกอย่างน้อย 6 ครั้งในแต่ละวัน หรือ 12 ครั้งต่อวันถ้าให้นมแม่ ระวังอย่าป้อนนมลูกในแต่ละครั้งมากเกินไป คอยสังเกตอาการของลูกน้อย ลูกน้อยวัย 1 เดือนเมื่อมีสมาชิกตัวน้อยๆ เพิ่มเข้ามาในครอบครัว ถือเป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของบ้าน แทบจะเรียกได้ว่าทุกวินาทีที่ผ่านไปรวดเร็วจนอาจจะตั้งตัวไม่ทัน และบางครั้งก็อาจทำให้คุณแม่กังวลมากจนแทบจะไม่มีเวลาทำสิ่งอื่นนอกจากการดูแลลูก ลูกน้อยวัย 1 เดือน ต้องการการดูแลใกล้ชิดอย่างมาก เพราะยังหัดทำอะไรเป็นตารางเวลาไม่ได้ โดยเฉพาะเรื่องการนอน ทารกแรกเกิดส่วนใหญ่ยังไม่สามารถควบคุมการนอนและตื่นได้ ลูกน้อยจะตื่นมาหลังจากนอนได้เพียง 2-3 ชั่วโมง และพร้อมกินนมก่อนจะนอนหลับต่อในเวลาต่อมาไม่นาน การให้นมลูกน้อยในช่วงเดือนแรก ควรป้อนนมทารกอย่างน้อย 6 ครั้งในแต่ละวัน หรือ 12 ครั้งต่อวันถ้าให้นมแม่ ระวังอย่าป้อนนมลูกในแต่ละครั้งมากเกินไป คอยสังเกตอาการของลูกน้อยเมื่อรู้สึกอิ่ม เพื่อปรับปริมาณและเวลาที่ป้อนนมให้เหมาะสม การนอนเดือนแรกนี้ลูกน้อยจะใช้เวลานอนค่อนข้างมาก เมื่อคุณแม่สังเกตเห็นว่าลูกน้อยเริ่มง่วง ควรให้ลูกนอนพักในเปลหรือเตียง ซึ่งส่วนใหญ่จะเริ่มง่วงและหลับสนิทหลังจากการป้อนนมได้ไม่นานนัก คุณแม่อาจจะเห็นลูกน้อยวัย 1 เดือนยิ้มเป็นครั้งแรกในช่วงวัยนี้ แต่สิ่งที่คุณเห็นนั้นเป็นเพียงการแสดงออกของกล้ามเนื้อบนใบหน้ามากกว่า ซึ่งรอยยิ้มของลูกน้อยจริงๆ จะมีต่อเมื่อผ่าน 6 สัปดาห์ไปแล้ว และทารกบางคนอาจจะมีอาการโคลิกหรือร้องกวนมากขึ้นเพื่อฝึกการทำงานของปอด อาการร้องไห้ไม่หยุดนี้ทำให้พ่อแม่มือใหม่หลายคนกังวลใจมาก เพราะไม่รู้วิธีรับมือกับเรื่องนี้ สิ่งที่ทำได้ง่ายมากๆ คือ การปลอบลูกน้อยด้วยความอ่อนโยน พัฒนาการของทารกเมื่อแรกเกิดลูกน้อยจะจ้องมองหน้าแม่และหันตามได้ […]

การรับมือกับทารกแรกเกิด
การรับมือกับทารกแรกเกิด : นมแม่คือลูกคือสุดยอดอาหารสำหรับลูกน้อย องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าลูกควรได้รับนมแม่ตลอดช่วงหกเดือนแรกจนถึงอายุ 2 ปีหรือกว่าแม่จะ… การรับมือกับทารกแรกเกิด มีความท้าทายอยู่มากมายเลยค่ะสำหรับการเป็นคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ในสัปดาห์แรกหลังคลอด ไม่ว่าจะเป็นการพักฟื้นหลังคลอด การให้นมและการกล่อมลูกน้อย สิ่งเหล่านี้นำไปคุณพ่อคุณแม่ไปสู่การอดหลับอดนอนและเหนื่อยล้า มีผลให้คุณพ่อคุณแม่มีอาการสมองตื้อและอารมณ์แปรปรวนได้ค่ะ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทำให้การสร้างความผูกพันธ์กับลูกน้อยต้องใช้เวลานานกว่าที่คุณพ่อคุณแม่คาดการณ์ไว้นั่นเอง นอกเหนือจากการปรับตัวให้เข้ากับลูกน้อยแล้ว คุณแม่อาจจะต้องปรับเปลี่ยนความรู้สึก และดูแลรูปลักษณ์ของตัวเองไปในทางที่ดีขึ้น ในขณะที่ต้องหาเวลามาดูแลเจ้าตัวน้อยไปด้วยในเวลาเดียวกัน อีกทั้งคุณแม่ยังจะต้องปรับตัวกับความสัมพันธ์ในชีวิตที่อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง ไม่ใช่แค่คุณพ่อนะคะ รวมไปถึงคนในครอบครัวและเพื่อน ๆ ซึ่งอาจจะต้องใช้เวลาในการกับจัดการกับมันสักหน่อย และในช่วงเวลาที่เลี้ยงลูกน้อยอาจก่อให้เกิดความเครียดและสร้างความกดดันให้กับคุณแม่ได้ค่ะ สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงความท้าทายส่วนหนึ่งที่คุณแม่หลายคนต้องเผชิญค่ะ แต่บ่อยครั้งที่คุณแม่ไม่ได้ขอความช่วยเหลือจากคนอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการเลี้ยงดูลูก หรือ ขอคำปรึกษาด้านอารมณ์ในช่วงแรก ๆ ซึ่งอาจมีผลกระทบที่ตามมาภายหลัง ทำให้คุณพ่อ คุณแม่และลูกน้อยต้องตกอยู่ภายใต้สภาวะความเครียดที่มากขึ้นค่ะ แต่อย่าพึ่งกังวลไปนะคะ เพราะยังมีเคล็ดลับและกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่จะมาช่วยจัดการให้ช่วงเวลาของการเป็นคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ให้ง่ายขึ้นกว่าเดิม ซึ่งมีดังต่อไปนี้ • หาเวลาพักผ่อนให้กับตัวเองบ้างนะคะ ในช่วงเวลาที่ลูกหลับอาจให้คนในบ้านมาช่วยแทนมือสักครู่ ออกไปนั่งพัก ทานข้าว อาบน้ำ หรือนอนหลับสักงีบจะได้รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้นค่ะ• พยายามอย่ากดดันตัวเองว่าจะต้องเป็นพ่อแม่ที่ดีที่สุดมากเกินไปนะคะ ความสะอาดและความปลอดภัยย่อมเป็นสิ่งสำคัญที่สุดสำหรับลูกน้อย หากแต่บางครั้งคุณแม่คุณพ่อมือใหม่อาจยังไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อนจึงรู้สึกว่าทุกๆอย่างจะต้องดีที่สุด พาลให้คุณพ่อคุณแม่กังวลไปสารพัดทำให้คนรอบข้างที่อยากช่วยเหลือจะรู้สึกอึดอัดในการยื่นมือเข้าช่วยด้วยนะคะ • การเลี้ยงลูกไม่มีอะไรเป็นสูตรตายตัว ดังนั้นหากเราให้คนที่บ้านช่วยเลี้ยง หรือพ่อแม่เราช่วยเลี้ยง ค่อยพูดค่อยจาถ้อยทีถ้อยอาศัย […]

พัฒนาการทารกวัย 2 เดือน
พัฒนาการทางร่างกายที่เด่นชัดของทารกวัย 2 เดือน ได้แก่. ตื่นนอนกลางวันราว 10 ชั่วโมง; แขนขายังกระตุก มีสะดุ้งตกใจบ้าง; การเคลื่อนไหวนุ่มนวลขึ้นกว่าเดือนแรก … ลูกวัย 2 เดือนจะมีตัวหนักขึ้นจากเมื่อตอนอายุ 1 เดือนประมาณ 1 กิโลกรัม เริ่มบังคับศีรษะโงนเงนไปมาได้ สามารถเงยขึ้น 45 องศา เพื่อมองสิ่งแวดล้อมรอบๆ ได้ประมาณ 2-3 นาที ลูกจะกินนมเป็นเวลามากขึ้น ประมาณ 4 ชั่วโมงต่อครั้ง เฉลี่ย 35 ออนซ์ต่อวัน และหากไม่ได้ดั่งใจก็จะแผดเสียงร้องลั่นบ้าน เด็กบางคนอาจจะนอนหลับเพลินจนลืมเวลากินนม เพราะเมื่อมีอายุเลย 5 อาทิตย์แล้ว จะนอนตอนกลางคืนได้ยาวนานขึ้นรวดเดียวถึง 7 ชั่วโมง และในตอนกลางวันจะอยู่ในภาวะตื่นมากขึ้นเป็น 10 ชั่วโมงต่อวัน เด็กจะเริ่มเรียนรู้ร่างกายตนเอง ชอบถีบขายืดแขน หันหน้าหันหลังพลิกตัวไปมาอย่างสนุกสนาน ยิ่งหากมีคนอื่นๆ อยู่ด้วยเจ้าหนูจะโชว์ท่าทางเป็นพิเศษ ด้านการมองเห็นในเดือนที่ 2 เลนส์ของตาจะปรับระยะตามความห่างของวัตถุ แต่ประสาทของตากับหูยังไม่สัมพันธ์กันมากนัก อาจจะไม่ค่อยหันตามเสียงแต่จะหันตามของเล่นสีสดใสหรือแสงวิบวับแทน อย่างไรก็ตามลูกจะชอบใบหน้าของคนมากกว่าสิ่งของอยู่ดี และการเรียนรู้ของลูกมักจะเป็นการเรียนรู้ด้วยปากและพอใจกับการได้ดูดนมหรือนำนิ้วเข้าปากมากกว่าเรียนรู้ด้วยสายตา พัฒนาการทางร่างกายที่เด่นชัดของทารกวัย 2 เดือน ได้แก่ […]

เคล็ดลับดูแลลูกน้อยวัย 2 เดือน
ดูแลให้ลูกน้อยได้เคลื่อนไหวและขยับร่างกายบนพื้นที่ว่างเป็นประจำทุกวัน เพื่อเสริมทักษะการเคลื่อนไหว และควรระวังเป็นพิเศษหากคุณมีสัตว์เลี้ยง … ลูกน้อยวัย 2 เดือนคุณแม่จะรู้สึกผ่อนคลายขึ้นเมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนที่ 2 เพราะคุณพ่อและคุณแม่ต่างปรับตัวได้แล้ว และเริ่มเข้าใจลูกน้อยมากขึ้นตามลำดับ ขณะที่ลูกน้อยเองก็เริ่มโต้ตอบกับคุณได้มากขึ้น เช่น การยิ้ม แสดงสีหน้า แน่นอนว่ารอยยิ้มของลูกน้อยทำให้คุณพ่อและคุณแม่ชื่นใจได้มาก ลูกน้อยจะสื่อสารด้วยเสียงอ้อแอ้ของเค้าออกมา ขั้นตอนง่ายๆ ในการแสดงความรักให้ลูกน้อยรับรู้ได้ คือ การสบตาและพูดกับเค้าด้วยน้ำเสียงที่อ่อนโยน ค่อยๆ ขยับปากให้เค้าเห็นชัดๆ ใกล้ๆ และเมื่อลูกน้อยยิ้มให้คุณ พยายามสัมผัสให้เค้ารับรู้ว่าคุณเห็นและเข้าใจสิ่งที่เค้าพยายามสื่อสารกับคุณแล้ว นี่คือช่วงเวลาแห่งความผูกพันระหว่างพ่อ แม่และลูกน้อยที่มีคุณค่าและวิเศษที่สุด การให้นมลูกน้อยลูกน้อยในวัยนี้แสดงอาการหิวได้ชัดเจนขึ้น เป็นช่วงที่เค้าพยายามกำหนดช่วงเวลาการกินนมด้วยตัวเอง คุณเพียงแต่ทำตามและป้อนนมเมื่อถึงเวลาที่ลูกน้อยให้สัญญาณ สำหรับคุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ อาจจะต้องสลับเต้านมทั้งสองข้างในการป้อนลูกรัก การให้นมลูกช่วงเดือนที่ 2 นี้ ลูกน้อยยังตื่นขึ้นมากินนมในตอนกลางคืนอยู่ แต่จะเริ่มปรับตัวด้วยการนอนที่ยาวนานกว่าเดิม เป็น 5-6 ชั่วโมง ซึ่งคุณแม่ก็จะได้พักผ่อนนานขึ้นด้วย การนอนของเจ้าตัวเล็กลูกน้อยเริ่มนอนอย่างมีระบบมากขึ้น โดยเริ่มนอนกลางวันนานขึ้นจากเดิมที่นอนทุกๆ 1-3 ชั่วโมง ลูกน้อยจะเริ่มงีบหลังจากกินนมอิ่มแล้วประมาณ 30 นาทีขึ้นไป ซึ่งคุณแม่ช่วยเตรียมลูกน้อยด้วยการจัดที่นอนสบายๆ และสร้างบรรยากาศการนอนหลังป้อนนมแล้ว เด็กวัยนี้จะเริ่มใช้เวลานอนนานขึ้นเป็น 9-18 ชั่วโมงต่อวัน พฤติกรรมของหนูช่วงที่คุณพ่อและคุณแม่หนักใจมากที่สุด คือ การที่ลูกน้อยเริ่มร้องไห้บ่อยขึ้นโดยไม่รู้สาเหตุ […]

8 วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้สำเร็จ
แม่ลูกควรอยู่ด้วยกัน 24 ชั่วโมงตั้งแต่แรกเกิด … การให้ลูกน้อยดูดหัวนมยางหรือหัวนมปลอมอาจทำให้เกิดความสับสนระหว่างการดูดนมแม่กับการดูดหัวนมยางหรือหัวนม … 1) หลังคลอดลูกดูดนมแม่ให้เร็วที่สุด คุณแม่ควรเริ่มให้ลูกดูดนมแม่โดยเร็วที่สุดหลังคลอดทันทีหรือภายในครึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอดจะช่วยสร้างสายสัมพันธ์แห่งความรัก ความผูกพัน และความอบอุ่นที่ลูกน้อยรับรู้ได้ทันที ลูกจะคุ้นเคยกับการดูดนมและแม่จะเข้าใจและเรียนรู้ความต้องการของลูก 2) แม่ต้องรู้วิธีให้นมที่ถูกต้อง วิธีการให้นมลูกที่ถูกต้องคือ คุณแม่ต้องตะแคงตัวลูกเข้าหาตัวแม่แล้วอุ้มให้กระชับอก โดยให้ศีรษะและลำตัวลูกอยู่แนวเดียวกัน แล้วประคองศีรษะลูกให้อมหัวนมและลานนมให้ลึก เมื่อเหงือกลูกกดบนลานนมที่มีกระเปาะน้ำนมภายใน ลิ้นจะอยู่ใต้ลานนมและรีดน้ำนมออกมาโดยที่ริมฝีปากไม่เม้มเข้า ขณะดูดจะเป็นจังหวะและมีเสียงเบา ๆ ขณะกลืนน้ำนม ส่วนการคงสภาพของการหลั่งน้ำนมแม้ว่าแม่กับลูกต้องแยกจากกันควรต้องให้คุณแม่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการบีบน้ำนมและกระตุ้นให้เก็บน้ำนมในความถี่ที่เหมาะสมอย่างน้อย 8 ครั้งต่อวัน และมีปริมาณน้ำนมที่ชัดเจน โดยในช่วง 2 สัปดาห์แรกควรต้องได้ปริมาณน้ำนมมากกว่า 500 มิลลิลิตรต่อวัน นอกจากนี้ควรมีการบันทึกปริมาณน้ำนมในช่วง 14 วันแรก เพื่อประเมินความพอเพียงของน้ำนม 3) ทารกต้องกินนมแม่เท่านั้น ทารกต้องได้รับแต่นมแม่เท่านั้นตลอด 6 เดือน ห้ามให้น้ำ อาหาร หรือเครื่องดื่มอื่น ๆ ยกเว้นมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ เนื่องจากสมองของเจ้าตัวเล็กเติบโตเร็วมากในขณะที่กระเพาะอาหารมีขนาดเล็ก หากให้น้ำหรืออาหารอื่น ๆ ลูกจะดูดนมแม่น้อยลง การให้นมแม่อย่างเดียวถือว่าเพียงพอแล้ว เพราะมีน้ำเป็นส่วนประกอบหลักและมีสารอาหารที่จำเป็นครบถ้วน 4) แม่ลูกควรอยู่ด้วยกัน 24 ชั่วโมงตั้งแต่แรกเกิด หลังคลอดแม่กับลูกควรอยู่ด้วยกันตลอดเวลา 24 ชั่วโมง โดยแม่ควรอุ้มทารกแนบอก […]

การดูแลทารกแรกเกิด 10 วิธีดูแลลูกน้อยง่าย ๆ
ทารกแรกเกิดแหวะนมเล็กๆ น้อยๆ ถือเป็นภาวะปกติ เพราะหูรูดของกระเพาะอาหารยังไม่แข็งแรง ควรปรับการให้นมใหม่ โดยให้ทารกดูดนมในปริมาณน้อยๆ แต่ดูดบ่อยขึ้น และอุ้มเรอ เจ้าตัวน้อยใกล้คลอดเข้ามาทุกที สร้างความตื่นเต้นดีใจให้คุณพ่อคุณแม่ไม่น้อยเลย แต่ในความดีใจนั้นก็อาจแฝงความกังวลไว้ด้วย กังวลว่าจะดูแลลูกไม่ดี ไม่รู้ต้องเตรียมอะไรก่อนหลังบ้าง วันนี้กระปุกดอทคอมจึงขอนำวิธีเลี้ยงลูกฉบับ การดูแลทารกแรกเกิด มาฝากคุณพ่อคุณแม่มือใหม่กันค่ะ 1. ให้กินนมแม่ อาหารดีที่สุดของลูก สำหรับลูกน้อยวัยทารกแล้ว อาหารที่ดีที่สุดของเขาคือ “นมแม่” เพราะมีสารอาหารครบถ้วนและยังสร้างภูมิต้านทานโรคต่าง ๆ ให้ลูกแบบที่หาจากนมไหน ๆ ไม่ได้อีกด้วย ซึ่งองค์การอนามัยโลกแนะนำให้ลูกกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน หลังจากนั้นกินนมแม่ร่วมกับอาหารเสริมอื่น ๆ จนถึงอายุ 2 ปี รับรองลูกน้อยสุขภาพแข็งแรง เติบโตสมวัยแน่นอนค่ะ 2. ลูกต้องนอนหลับให้เพียงพอ ทารกแรกเกิด ถึง 6 เดือนแรก เป็นวัยแห่งการนอนหลับ ซึ่งการนอนที่เพียงพอจะส่งผลให้สมองและร่างกายมีพัฒนาการเต็มที่จึงควรให้ลูกวัยนี้นอนหลับวันละ 18-20 ชั่วโมง โดยปกติเขาจะนอนกลางวันมากกว่ากลางคืน ช่วงกลางคืนจะหลับ 3-4 ชั่วโมงแล้วตื่นมากินนม อิ่มแล้วก็นอนต่อ ช่วงนี้คุณแม่อาจจะดูอิดโรยก็ไม่ต้องแปลกใจ เพราะฉะนั้นเวลาที่ลูกหลับคุณแม่ก็ควรหลับไปพร้อมกับลูกด้วย จะได้มีแรงดูแลลูกอย่างเต็มที่ค่ะ 3. […]

วิธีการเลี้ยงเด็กแรกเกิด สำหรับคุณแม่มือใหม่
วิธีจับลูกเรอด้วยท่านอนนบนอก โดยอุ้มทารกแนบลำตัวมารดาตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง โดยมารดาอยู่ในท่านอนหงายศีรษะสูง แล้วใช้มืออีกข้างลูบหลังเบาๆ ช้าๆ ที่ด้าน … วิธีการเลี้ยงเด็กแรกเกิด สำหรับคุณแม่มือใหม่ ไม่ยากอย่างที่คิด วิธีเลี้ยงทารกแรกเกิด 3 เดือนแรก สำหรับคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ เคล็ดลับการเลี้ยงเด็กแรกเกิด และการดูแลลูกน้อยอย่างถูกต้อง อย่างคุณแม่มืออาชีพ เชื่อว่าท้องแรก คุณแม่มือใหม่ทุกคนต้องตื่นเต้นอย่างแน่นนอน เพราะมีสมาชิกตัวน้อยๆ เข้ามาเติมเต็มชีวิตครอบครัว แต่ความยินดีก็จะตามมาด้วยความกังวลใจต่างๆ กลัวว่าเราจะเลี้ยงลูกน้อยได้ดีมั้ย กลัวเจ้าตัวเล็กจะเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่หรือเปล่า ยิ่งเมื่อลูกน้อยคลอดออกมาตั้งแต่วันแรก การเลี้ยงเด็กแรกเกิดคุณแม่ต้องรับมืออย่างไร แต่คุณแม่อย่างเพิ่งป็นกังวลเกินไปนะคะ เพราะเรามี 4 เคล็ดลับง่ายๆ ในการเลี้ยงทารกแรกเกิด 3 เดือน ให้ราบรื่นเปรียบเสมือนคุณแม่มืออาชีพ 4 วิธีการเลี้ยงทารกแรกเกิด 3 เดือนแรกสำหรับคุณแม่มือใหม่ 1. วิธีจับลูกเรอ วิธีจับลูกเรอ หรือการทำให้ทารกเรอทุกครั้งหลังทานนม มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเลี้ยงทารกแรกเกิด 3 เดือน เพราะเป็นการช่วยเอาลมออกจากกระเพาะอาหารของทารก เนื่องจากกระเพาะของทารกนั้นมีเนื้อที่จำกัด และในขณะทานนมทารกจะกลืนลมเข้าไปด้วย ทำให้มีพื้นที่สำหรับนมน้อยลง ทานนมได้ลดลง นอกจากนี้การมีลมในกระเพาะมากยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ทารกสำรอกนมได้ง่ายและบ่อยขึ้น วิธีจับลูกเรอจึงเป็นวิธีช่วยบรรเทาอาการแน่นท้อง และทำให้ท้องว่างซึ่งสามารถรับนมได้เพิ่มขึ้นอีกด้วย ซึ่งวิธีจับลูกเรอสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้ • วิธีจับลูกเรอด้วยท่านั่งบนตัก ทำได้โดยอุ้มทารกนั่งบนตักใช้มือประคองคางทารกไว้ […]